จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันอาทิตย์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การทํางานของ โทรศัพท์ไร้สาย


โทรศัพท์มือถือ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตัวอย่างของโทรศัพท์มือถือ
โทรศัพท์มือถือ หรือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (และมีการเรียก วิทยุโทรศัพท์) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน
โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่เพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้นเอสเอ็มเอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่องเล่นเพลง และ จีพีเอส
โทรศัพท์เคลื่อนที่เครื่องแรกถูกผลิตและออกแสดงในปี พ.ศ. 2516 โดย มาร์ติน คูเปอร์ (Martin Cooper) นักประดิษฐ์จากบริษัทโมโตโรลา เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ขนาดใหญ่ที่มีน้ำหนักประมาณ 1.1 กิโลกรัม[1] ปัจจุบันจำนวนผู้ใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลก เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2543 ที่มีจำนวน 12.4 ล้านคน[2] มาเป็น 4,600 ล้านคน[3]

เนื้อหา

  [ซ่อน

[แก้]วิวัฒนาการของโทรศัพท์มือถือ

  • 1G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ analog ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น NMTAMPS, DataTac
  • 2G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น GSMcdmaOnePDC
  • 2.5G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ที่เริ่มนำระบบ packet switching มาใช้ ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น GPRS
  • 2.75G ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น CDMA2000 1xRTTEDGE
  • 3G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ที่มีความสามารถครบทั้งการสื่อสารด้วยเสียงและข้อมูลรวมถึงวิดีโอ ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น W-CDMATD-SCDMACDMA2000 1x-EVDO
  • 3.5G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ที่มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงขึ้นกว่า 3G เช่น HSDPA ใน W-CDMA
  • 4G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ Real-Digital สามารถเชื่อมต่อข้อมูล 3 แบบ ภาคพื้นดิน CDMA PA-H และการเชื่อมต่อ ewifi และ Wi-Max เพื่อการเชื่อมภาพและเสียงเป็นข้อมูลเดียวกัน

[แก้]ระบบปฏิบัติการมือถือ

[แก้]ส่วนแบ่งการตลาด

[แก้]ผู้ผลิตมือถือ

ที่มาสถิติเมื่อโนเกียซัมซุงแอลจีRIMโซนี่ อิริคสันอื่นๆอ้างอิง
IDCไตรมาสที่ 1 ปี 255336.6%21.8%9.2%3.6%3.6%25.3%[4]
Gartnerไตรมาสที่ 1 ปี 255335.0%20.6%8.6%3.4%3.1%29.3%[5]
IDCไตรมาสที่ 3 ปี 255424.2%19.2%6.8%n/an/an/a[6]
Gartnerไตรมาสที่ 3 ปี 255422.8%16.3%5.7%n/an/ana[7]

[แก้]ระบบปฏิบัติการมือถือ

ที่มาสถิติเมื่อซิมเบียนBlackBerry OSแอนดรอยด์iOSวินโดวส์ โมบายอื่นๆรวมอ้างอิง
IDCไตรมาสที่ 1 ปี 255340.1%17.9%16.3%14.7%6.8%4.2%100%[8]
Inwไตรมาสที่ 2 ปี 255419.2%13.4%38.5%19.4%5.6%3.9%100%[9]

[แก้]ผลกระทบต่อสุขภาพ

ความเชื่อที่ว่าโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพในระยะยาวนั้น ปัจจุบันได้รับการยืนยันจากองค์การอนามัยโลกแล้ว โดยองค์การฯ ได้บรรจุโทรศัพท์เคลื่อนที่ไว้ในรายชื่อวัตถุก่อมะเร็ง[10][11] ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้ออกรายงานเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554[12] โดยจัดว่ารังสีโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็น "วัตถุก่อมะเร็ง" และ "อาจก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์" ได้ รายงานดังกล่าวออกมาหลังจากทีมนักวิทยาศาสตร์ได้ทบทวนการศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยของโทรศัพท์เคลื่อนที่[13] งานวิจัยหนึ่งว่าด้วยการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในอดีตนั้นได้ถูกอ้างอิงในรายงานซึ่งแสดงให้เห็นว่า ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างหนักจะมีความเสี่ยงเป็นเนื้องอกในสมองมากขึ้นถึง 40% (รายงานการใช้โดยเฉลี่ย 30 นาทีต่อวัน เป็นเวลาติดต่อกันนานกว่า 10 ปี)[14] ซึ่งรายงานดังกล่าวตรงกันข้ามกับการสรุปก่อนหน้านี้ซึ่งไม่คาดว่ามะเร็งจะเกิดขึ้นเป็นผลมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือสถานีฐาน และการทบทวนดังกล่าวไม่ได้พบหลักฐานชัดเจนเกี่ยวกับผลกระทบต่อสุขภาพด้านอื่นแต่อย่างใด[15][16]

[แก้]ผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือ

แคนาดา
จีน
ฟินแลนด์
ฝรั่งเศส
อินเดีย
อิสราเอล
อิตาลี
ญี่ปุ่น
มาเลเซีย
เนเธอร์แลนด์
รัสเซีย
เกาหลีใต้
สวีเดน
สวิสเซอร์แลนด์
ไต้หวัน
เยอรมนี
ไทย
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
สหราชอาณาจักร
สหรัฐอเมริกา
เวเนซูเอลา

[แก้]ดูเพิ่ม

[แก้]อ้างอิง

  1. ^ Heeks, Richard (2008). "Meet Marty Cooper - the inventor of the mobile phone"BBC 41 (ฉบับที่ 6): 26–33. doi:10.1109/MC.2008.192.http://news.bbc.co.uk/2/hi/programmes/click_online/8639590.stm.
  2. ^ http://www.worldmapper.org/display.php?selected=333
  3. ^ Heeks, Richard (2008). "ICT4D 2.0: The Next Phase of Applying ICT for International Development"IEEE Computer 41 (ฉบับที่ 6): 26–33. doi:10.1109/MC.2008.192.http://doi.ieeecomputersociety.org/10.1109/MC.2008.192.
  4. ^ "By the Numbers: Top Five Mobile Phone Vendors in the First Quarter of 2010 - IDC". Idc.com. 2009-07-21http://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS22322210. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-29.
  5. ^ "April 2010 Mobile Metrics Report". September 30, 2010http://www.gartner.com/it/page.jsp?id=1372013.
  6. ^ "Worldwide Mobile Phone Market Grew More Than 11% in the Second Quarter; Feature Phones Decline for First Time in Almost 2 Years, According to IDC". Idc.com. 2011-12-2.http://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS22962811. เรียกข้อมูลเมื่อ 2011-12-2.
  7. ^ "Gartner Says Sales of Mobile Devices in Second Quarter of 2011 Grew 16.5 Percent Year-on-Year; Smartphone Sales Grew 74 Percent". 2011-12-2.http://www.gartner.com/it/page.jsp?id=1764714.
  8. ^ "IDC พยากรณ์ส่วนแบ่งตลาดมือถือปี 2014: iOS ลดลง, Android โต 50%, Symbian ยังแชมป์". Idc.com. 2010-09-8http://www.blognone.com/news/18443. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-09-8.
  9. ^ "Android สุดยอด Mobile OS กินส่วนแบ่งตลาดมากที่สุดถึง 38.5 % ในปี 2011 และจะเป็นครึ่งหนึ่งของโลกในปี 2015"http://blog.lnw.co.th/2011/04/08/android-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%94-mobile-os-%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2/.+2011-12-2http://www.blognone.com/news/18443. เรียกข้อมูลเมื่อ 2011-12-2.
  10. ^ WHO: Cell phone use can increase possible cancer risk By Danielle Dellorto, CNN May 31, 2011
  11. ^ "What are the health risks associated with mobile phones and their base stations?"Online Q&AWorld Health Organization. 2005-12-05.http://www.who.int/features/qa/30/en. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-01-19.
  12. ^ "World Health Organization/International Agency for Research on Cancer Classifies Radiofrequency Electromagnetic Fields as Possibly Carcinogenic to Humans"World Health Organizationhttp://www.iarc.fr/en/media-centre/pr/2011/pdfs/pr208_E.pdf. เรียกข้อมูลเมื่อ 2011-05-31.
  13. ^ "WHO: Cell phone use can increase possible cancer risk"CNNhttp://www.cnn.com/2011/HEALTH/05/31/who.cell.phones/index.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 2011-05-31.
  14. ^ "World Health Organization: Cell Phones May Cause Cancer"Business Insiderhttp://www.businessinsider.com/cell-phones-cause-cancer-2011-5. เรียกข้อมูลเมื่อ 2011-05-31.
  15. ^ "What are the health risks associated with mobile phones and their base stations?"Online Q&AWorld Health Organization. 2005-12-05.http://www.who.int/features/qa/30/en. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-01-19.
  16. ^ "Electromagnetic fields and public health: mobile telephones and their base stations"Fact sheet N°193World Health Organization. June 2000.http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs193/en. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-01-19.

[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น